您现在的位置是:DailyThai > ความรู้
【บ้านบอบ】รู้จักโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ SMR ตามแผนสร้างแน่ในไทย! ต้องพิสูจน์ ดีจริง หรือยังน่ากังวล? | เดลินิวส์
DailyThai2024-11-28 04:30:25【ความรู้】2人已围观
简介ในส่วนของประเทศไทย “การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)” ในฐานะผู้รักษาความมั่นคงด้านพลังงานไทย ได้ บ้านบอบ
ในส่วนของประเทศไทย “การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)” ในฐานะผู้รักษาความมั่นคงด้านพลังงานไทย ได้ศึกษาเทคโนโลยีนิวเคลียร์มาโดยตลอด ระยะเวลาเกือบ 20 ปี ตั้งแต่ปี 50 เป็นต้นมา และยังเป็นส่วนหนึ่งในคณะกรรมการเตรียมความพร้อมโครงสร้างพื้นฐานของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศ เดินหน้าศึกษาความเหมาะสมโครงการ ค้นหาพื้นที่ศักยภาพ สรรหาเทคโนโลยี และพัฒนาบุคลากรผู้เชี่ยวชาญ เตรียมความพร้อมรองรับ โดยเฉพาะโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ขนาดเล็ก หรือ SMR (Small Modular Reactor) ที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งถูกบรรจุเป็นหนึ่งในเชื้อเพลิงพลังงานสะอาดของแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ (พีดีพี)
รู้จักโรงไฟฟ้านิวเคลียร์SMRตามแผนสร้างแน่ในไทยต้องพิสูจน์ดีจริงหรือยังน่ากังวลเดลินิวส์ล่าสุดทาง กฟผ.ได้พาสื่อมวลชน ไปดูงานโรงไฟฟ้า SMR ที่โรงไฟฟ้า Linglong One ในมณฑลไห่หนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน ถือเป็นโรงไฟฟ้า SMR บนพื้นดินเชิงพาณิชย์รุ่นแรกของโลก ซึ่ง กฟผ. มองว่า เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่น่าสนใจและต้องเร่งศึกษา รวมถึงเทคโนโลยี SMR ของประเทศอื่น ๆ ซึ่งมีการพัฒนามากกว่า 80 แบบ จาก 18 ประเทศทั่วโลก เพื่อนำมาเปรียบเทียบว่าเทคโนโลยีใดดีที่สุดและเหมาะสมกับประเทศไทย
รู้จักโรงไฟฟ้านิวเคลียร์SMRตามแผนสร้างแน่ในไทยต้องพิสูจน์ดีจริงหรือยังน่ากังวลเดลินิวส์“เทพรัตน์ เทพพิทักษ์” ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ฉายภาพถึงมุมมองกฟผ.ต่อโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ว่า ทั่วโลกต่างมีความต้องการไฟฟ้าสีเขียวเพื่อมุ่งสู่เป้าหมาย Carbon Neutrality โดยเฉพาะการเพิ่มสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน แต่ด้วยข้อจำกัดเรื่องเสถียรภาพไม่สามารถจ่ายไฟฟ้าได้ตลอด ซึ่งการจะทำให้จ่ายไฟฟ้าได้ต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง ต้นทุนจะค่อนข้างสูง กฟผ. จึงมองหาพลังงานทางเลือกใหม่ซึ่งหลายประเทศทั่วโลกต่างให้ความสนใจและบรรจุไว้ในแผนพัฒนาการผลิตไฟฟ้าของประเทศ คือ โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ขนาดเล็ก หรือ SMR เพราะตอบโจทย์ทั้งความมั่นคงของระบบไฟฟ้า ไม่มีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และมีต้นทุนค่าไฟฟ้าที่แข่งขันได้
รู้จักโรงไฟฟ้านิวเคลียร์SMRตามแผนสร้างแน่ในไทยต้องพิสูจน์ดีจริงหรือยังน่ากังวลเดลินิวส์โดยออกแบบโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ให้มีขนาดเล็กลง ออกแบบให้ระบบเชื้อเพลิงและระบบผลิตไอน้ำอยู่ภายในโมดูลเดียวกัน ลดความซับซ้อนของระบบทำให้มีความปลอดภัยสูงขึ้น สามารถหยุดการทำงานได้เองเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน มีระบบระบายความร้อนไม่ต้องพึ่งพาไฟฟ้า อีกทั้งแร่ยูเรเนียมเป็นเชื้อเพลิงที่มีจำนวนมาก ราคาต่ำ ใช้ปริมาณน้อยแต่ให้พลังงานความร้อนมหาศาล ซึ่งสามารถผลิตไฟฟ้าได้อย่างต่อเนื่องนานถึง 24 เดือน จึงจะหยุดเดินเครื่องเพื่อเปลี่ยนเชื้อเพลิงบางส่วน นอกจากนี้การออกแบบที่มีความปลอดภัยมากขึ้นทำให้พื้นที่ในการจัดเตรียมแผนฉุกเฉินลดลงด้วย โดยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาดใหญ่อาจมีรัศมีถึง 16 กิโลเมตร ขณะที่โรงไฟฟ้า SMR มีรัศมีน้อยกว่า 1 กิโลเมตร เท่านั้น
รู้จักโรงไฟฟ้านิวเคลียร์SMRตามแผนสร้างแน่ในไทยต้องพิสูจน์ดีจริงหรือยังน่ากังวลเดลินิวส์สำหรับโรงไฟฟ้า Linglong One ในมณฑลไห่หนาน กฟผ. มองว่าเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่น่าสนใจและต้องเร่งศึกษา รวมถึงเทคโนโลยี SMR ของประเทศอื่น ๆ ซึ่งมีการพัฒนามากกว่า 80 แบบ จาก 18 ประเทศทั่วโลก ต้องนำมาเปรียบเทียบว่าเทคโนโลยีใดดีที่สุดและเหมาะสมกับประเทศไทย ควบคู่กับการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนผ่านสื่อต่าง ๆ รวมทั้งหารือกับกระทรวงศึกษาธิการเพื่อบรรจุอยู่ในหลักสูตรสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาและมหาวิทยาลัยเพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงการทำงานและข้อดีของโรงไฟฟ้า SMR และเกิดการยอมรับ
รู้จักโรงไฟฟ้านิวเคลียร์SMRตามแผนสร้างแน่ในไทยต้องพิสูจน์ดีจริงหรือยังน่ากังวลเดลินิวส์ส่วนการประเมินเงินลงทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้า SMR คาดว่าจะสูงกว่าโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมประมาณ 2-3 เท่า แต่เนื่องจากโรงไฟฟ้า SMR มีอายุการใช้งาน 60 ปี และมีต้นทุนค่าเชื้อเพลิงที่ต่ำมาก ดังนั้นหากคำนวณต้นทุนค่าไฟฟ้าเฉลี่ยตลอดอายุของโรงไฟฟ้าก็ถือว่าใกล้เคียงกับโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม และในอนาคตมูลค่าการลงทุนโรงไฟฟ้า SMR ก็จะถูกลงอีก ทำให้ต้นทุนค่าไฟฟ้ามีราคาที่แข่งขันได้มากยิ่งขึ้น
รู้จักโรงไฟฟ้านิวเคลียร์SMRตามแผนสร้างแน่ในไทยต้องพิสูจน์ดีจริงหรือยังน่ากังวลเดลินิวส์“ไฟฟ้าเป็นโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ และเป็นต้นทุนของทุกอุตสาหกรรม ดังนั้นการพัฒนาโรงไฟฟ้า SMR ที่ตอบโจทย์ความมั่นคง ไฟฟ้าสีเขียว และมีราคาแข่งขันได้ จะช่วยเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจและการแข่งขันของประเทศ” เทพรัตน์ กล่าว
รู้จักโรงไฟฟ้านิวเคลียร์SMRตามแผนสร้างแน่ในไทยต้องพิสูจน์ดีจริงหรือยังน่ากังวลเดลินิวส์จุดสำคัญที่หลายคนเป็นกังวลโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ หลังจากเกิดเหตุที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ญี่ปุ่น เรื่องความปลอดภัย ถ้าเป็นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ SMR หากเกิดอุบัติเหตุกับโรงไฟฟ้า เช่น เกิดจากการรั่วไหลของน้ำหรือสารระบายความร้อนลดลงด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า SMR จึงถูกออกแบบมาให้มีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้นโดยลดความซับซ้อนของระบบ ได้รวมอุปกรณ์สำคัญไว้ภายในเครื่องปฏิกรณ์ จึงช่วยลดการใช้ปั๊ม จำนวนท่อและข้อต่อต่าง ๆ และยังมีระบบป้องกันความปลอดภัยที่สูงขึ้น โดยออกแบบเทคโนโลยีระบายความร้อนโดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้าหรือพนักงานเดินเครื่องในการควบคุม แต่ใช้หลักธรรมชาติ เช่น แรงโน้มถ่วง การถ่ายเทความร้อน ทำให้โรงไฟฟ้าไม่เกิดความเสียหาย แม้ไม่มีกระแสไฟฟ้าในระบบเลยก็ตาม เช่น ของที่โรงไฟฟ้า SMR ของโรงไฟฟ้า Linglong One จะมีระบบแท็งก์น้ำขนาดใหญ่อยู่ข้างบน หากเกิดอุบัติเหตุน้ำจะถูกปล่อยลงมาทันที ต่างจากตอนโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิจิ ตอนเกิดอุบัติเหตุ ต้องใช้ระบบไฟฟ้า ทำให้ปั๊มน้ำทำงาน ซึ่งในครั้งนี้ระบบไฟฟ้ามีปัญหาด้วย จึงทำให้เหตุการณ์บานปลาย
รู้จักโรงไฟฟ้านิวเคลียร์SMRตามแผนสร้างแน่ในไทยต้องพิสูจน์ดีจริงหรือยังน่ากังวลเดลินิวส์นอกจากนี้ขนาดของโรงไฟฟ้าที่เล็กลงยังส่งผลต่อรัศมีในการปล่อยสารกัมมันตรังสีเมื่อเกิดการรั่วไหล โดยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาดใหญ่อาจมีรัศมีถึง 16 กิโลเมตร ขณะที่ SMR มีรัศมีไม่เกิน 1 กิโลเมตร จึงสามารถทำแผนฉุกเฉินครอบคลุมภายในบริเวณรอบรั้วโรงไฟฟ้าได้
รู้จักโรงไฟฟ้านิวเคลียร์SMRตามแผนสร้างแน่ในไทยต้องพิสูจน์ดีจริงหรือยังน่ากังวลเดลินิวส์แม้เทคโนโลยีโรงไฟฟ้า SMR จะได้รับการยอมรับจากทั่วโลก ก็ต้องติดตามต่อไปว่า ในประเทศไทยจะสามารถเรียกความเชื่อมั่นให้สร้างโรงไฟฟ้า SMR ได้หรือไม่.
รู้จักโรงไฟฟ้านิวเคลียร์SMRตามแผนสร้างแน่ในไทยต้องพิสูจน์ดีจริงหรือยังน่ากังวลเดลินิวส์很赞哦!(94)
相关文章
- กำลังใจล้นหลาม โอปอล สุชาตา กับภาพหลังเวที Miss Universe 2024
- Fashion Set : "มิลลิ-นนน กรภัทร์"อวดลุคสุดปังมีสไตล์ เท่เก๋เกินต้านจนต้องกดไลก์ | เดลินิวส์
- เช็กดวงประจำวันที่ 12 ก.ย. 67 ราศีที่ดาวศรีสถิต "สิงห์" ราศีที่ดาวกาลีสถิต "กุมภ์" | เดลินิวส์
- อ่วมไม่หยุด! 'เหนือ-อีสาน-ตอ.' ฝนตกหนัก เตือนจุดลาดเชิงเขาเสี่ยงน้ำป่า | เดลินิวส์
- ทัพตำรวจยุคนายกฯอิ๊งค์ | เดลินิวส์
- ท่วมรอบ2! แม่น้ำเมยเอ่อล้นตลิ่งท่วมตลาดริมเมย บ้านเรือนกว่า 1 พันหลังจมบาดาล | เดลินิวส์
- “สนามบินแม่ฟ้าหลวง เชียงราย” เปิดบริการปกติ! เตือนเผื่อเวลาเดินทาง 5-6 ชั่วโมง | เดลินิวส์
- "หงส์แดง" ยิ้ม "โจนส์" คืนซ้อมมีลุ้นคัมแบ๊กบูู๊ "เจ้าป่า" | เดลินิวส์
- อันตราย 'ใต้' ตกหนัก! ฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงกว่า 3 เมตร | เดลินิวส์
- "นินิว"บุกห้องฉุกเฉินสลัดคราบนางแบบ สวมบทพี่ใหญ่ใจดีในซีรีส์"ล้านวงโคจร" | เดลินิวส์
热门文章
- รู้ยัง! เที่ยวญี่ปุ่นไม่ต้องจัดกระเป๋า ใช้ ‘เช่าเสื้อผ้า’ แทน ช่วยลดคาร์บอนเดินทาง | เดลินิวส์
- กองทัพเมียนมาเริ่มฝึกทหารเกณฑ์รุ่นที่ 5 หวังกู้วิกฤติขาดแคลนกำลังพล | เดลินิวส์
- "โน้ต เชิญยิ้ม"คัมแบ็ก 19 ปีทั้งเล่น-กำกับหินกว่าที่คิดใน"หลวงพี่เท่ง Come Back" | เดลินิวส์
- เช็กดวงประจำวันที่ 13 ก.ย. 67 ราศีที่ดาวศรีสถิต "มิถุน" ราศีที่ดาวกาลีสถิต "มีน" | เดลินิวส์
站长推荐
ยินดีด้วย! 'อนัน อันวา' จูงมือเจ้าสาว 'ซาบีน่า' ลั่นระฆังเข้าสู่ประตูวิวาห์อันหวานชื่น! | เดลินิวส์
สังคมโลก : สงครามท่องเที่ยว | เดลินิวส์
ช็อกนักเรียนหญิง ม.4 โดดอาคารเรียนดับสยอง ผู้ปกครองไม่ติดใจรู้เกิดจากสาเหตุอะไร | เดลินิวส์
"โรนัลโด" จวก "เทน ฮาก" ใจไม่ใหญ่พอคุมผีแดงหลังไม่คิดสู้เพื่อลุ้นแชมป์ | เดลินิวส์
รู้ยัง! เที่ยวญี่ปุ่นไม่ต้องจัดกระเป๋า ใช้ ‘เช่าเสื้อผ้า’ แทน ช่วยลดคาร์บอนเดินทาง | เดลินิวส์
"บิ๊กเอ็ม-อ๋อม"มุ่งมั่นพัฒนาตัวเองสู้สุดจนฉายแววนักแสดง-ขอทำงานให้แฟนๆมีความสุข | เดลินิวส์
Taylor Swift ประกาศสนับสนุน Kamala Harris ชิงเก้าอี้ประธานาธิบดีสหรัฐฯ 2024
'ลิซ่า' สร้างประวัติศาสตร์ครั้งใหม่ศิลปินเดี่ยวเคป๊อป คว้า 2 ปีติดรางวัล 'Best K-pop' งาน 'VMAs 2024' | เดลินิวส์